สรุปกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
จากคลิปวิดิโอ
สามารถสรุปได้ว่า กระตุ้นการเรียนรู้ของเด็กเด็กด้วยของเล่นและการทดลองจากหลักการวิทยาศาสตร์ของเล่นและการทดลองควรใช้ของที่หาได้ง่ายเด็กเด็กจะได้มีโอกาสทำเล่นเอง
ตัวอย่างที่
1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัวสร้างนักดำน้ำจากหลอดกาแฟ
หลอดลอยได้เพราะมีอากาศถูกกักไว้แรงลอยตัวเท่ากับน้ำหนักของน้ำที่ถูกอากาศแทนที่เมื่อเราบีบขวดความดันภายในขวดเพิ่มขึ้นทำให้บริมาณอากาศเล็กลงแรงลอยตัวจึงลด
หลอดจึงจม
เมื่อเราคลายขวดความดันในขวดก็จะลดลงเมื่อความดันอากาศลดลงปริมาณอากาศก็จะเพิ่มขึ้น
แรงลอสตัวก็จะเพิ่มขึ้นตามปริมาณอากาศหลอดจึงลอย
ตัวอย่างที่
2
ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วของอากาศและความดันของอากาศ เลี้ยงลูกด้วยลม
ธรรมชาติของอากาศก็คือที่ใดที่อากาศไหลเร็วความดันอากาศแถวนั้นจะน้อย
ดังนั้นถ้าบริเวณอื่นที่อยู่รอบรอบมีความดันอากาศมากกว่าก็จะมีลมวิ่งจากที่ความดันว่าเค้าหาที่ความดันน้อยกว่า
(หลักการนี้เรียกว่าหลักการของเบอร์นูลลี)
เมื่อเราเป๋าลมใต้ลูกบอลแรงลมก็จะพัดให้ลูกบอลลอยขึ้นนมที่โดนด้านล่างของลูกบอลก็จะไหลไปด้านข้างขึ้นไปข้างบนลมเหล่านี้วิ่งเร็วกว่าอากาศที่อยู่ห่างออกไปจากลูกบอล
ความดันข้างๆใกล้ๆจึงต่ำกว่าความดันที่ห่างออกไปจึงมีแรงผลักจากรอบรอบให้ลูกบอลอยู่บริเวณที่มีลมเป่าขึ้นเสมอเราจึงสามารถเลี้ยงลูกบอลอยู่ได้นานนาน
ตัวอย่างที่
3 สร้างมอเตอร์ไฟฟ้าแบบง่ายง่าย
เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลใกล้ใกล้แม่เหล็กจะมีแรงดูดหรือแรงผักกระทำกับกระแสไฟฟ้าและแม่เหล็กแรงที่ว่านี้จะตั้งฉากกับทั้งทิศทางการไหลของกระแสและทิศทางของสนามแม่เหล็ก
เราสามารถแสดงผลของแรงอันนี้ได้ด้วยการสร้างมอเตอร์แบบง่ายที่เรียกว่า โฮโมโพลาร์มอเตอร์
ตัวอย่างที่
4 กลหลอกพ่อแม่ด้วยแรงตึงผิวของน้ำ
การเล่นกลโดยเอาน้ำเติมแก้ว
แล้วเอาจุกคอร์กลอย ถ้าเราเติมน้ำจนล้นปรี่แรงตึงผิวของน้ำจะทำให้น้ำโค้งขึ้น
เป็นรูปกะทะคว่ำ ทำให้น้ำตรงกลางอยู่สูงที่สุด จุกคอร์กจึงลอยอยู่ตรงกลาง
ถ้าเราเติมน้ำให้เกือบเต็มน้ำส่วนที่ติดกับแก้วจะอยู่สูงกว่าน้ำตรงกลางทำให้ผิวน้ำเหมือนกระทะหงาย
จุกคอร์กจึงลอยไปติดกับขอบแก้ว
ตัวอย่างที่
5 ถุงพลาวติกมหัศจรรย์
พลาสติกมีหลายชนิดถ้าเรามองขยายมากๆเราจะเห็นส่วนประกอบของพลาสติกเป็นเส้น
เส้นเส้นเล็กๆเหล่านี้เกาะติดกันอย่างเหนียวแน่น
เมื่อเราค่อยค่อยแทงถุงช้าๆเส้นเล็กๆมีเวลาที่จะคลายตัว ทำให้เนื้อพลาสติกขยาย
เมื่อเหนือพลาสติกขยายตัวจนทนไม่ไหวแล้วดินสอก็จะทะลุเข้าไปแต่เนื้อพลาสติกที่ขยายรอบรอบดินสอจะติดกับตัวดินสอทำให้น้ำไม่สามารถไหลออกมาได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น